ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

homepage

การนำเสนอข้อมูล   ศาตร์พระราชา   ผู้จัดทำ



                                                                                        เคมีเรื่อง สารโมเลกุล



                                                                                            เคมีเรื่อง เเก๊ส



                                                                                         เคมีเรื่อง กรด-เบส


                                                                                         เคมีเรื่อง ของเเข็ง



                                                                                      เคมีเรื่อง ของเหลว



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

อินโฟกราฟิก

Homepage

กรด-เบส

    Homepage  กรด-เบส รด เบส ในชีวิตประจำวัน ( Acid Base in Everyday Life) สารประกอบจำพวกกรด เบส มีความสำคัญและเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของมนุษย์อย่างมาก ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจว่า กรด เบส คืออะไรอย่างง่ายๆ สารละลายกรด  คือสารละลายที่มีรสเปรี้ยว เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง หรือทำปฏิกิริยากับโลหะได้ แก๊ส H 2 และ เกลือ สารละลายเบส  คือสารละลายที่มีรสขม เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน หรือมีลักษณะลื่นๆ นิยามของกรด-เบส Arrhenius Concept กรด   คือ สารประกอบที่มี H และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ H + หรือ H 3O + เบส  คือ สารประกอบที่มี OH และเมื่อละลายน้ำจะแตกตัวให้ OH – ข้อจำกัดของทฤษฎีนี้คือ สารประกอบต้องละลายได้ในน้ำ และไม่สามารถอธิบายได้ว่า ทำไมสารประกอบบางชนิดเช่น NH 3 จึงเป็นเบส ชนิดของกรดและเบส กรด  แบ่งตามการแตกตัว แบ่งได้ 3 ชนิด 1.  กรด Monoprotic  แตกตัว 1 ได้แก่ HNO 3 , HClO 3 , HClO 4 , HCN 2.  กรด Diprotic  แตกตัว 2 ได้แก่ H 2SO 4 , H 2CO 3 3.  กรดPolyprotic  แตกตัว 3 ได้แก่ H...

สารโมเลกุล

    Homepage สารโมเลกุล สารชีวโมเลกุล  (Biomolecules) หมายถึง สารอินทรีย์ที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช และสัตว์ รวมถึงสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน และไฮโดรเจน เป็นองค์ประกอบหลัก และธาตุอื่นๆ เช่น ออกซิเจน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และกำมะถัน สารชีวโมเลกุลแต่ละชนิดมีขนาด โครงสร้าง คุณสมบัติ และปฏิกิริยาที่แตกต่างกัน ประเภทสารชีวโมเลกุลตามหน้าที่ 1. สารชีวโมเลกุลที่ให้พลังงาน ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน 2. สารชีวโมเลกุลที่ไม่ให้พลังงาน ได้แก่ วิตามิน เกลือแร่ และน้ำ 3. สารชีวโมเลกุลที่เป็นโครงร่าง ได้แก่ ไคติน (chitin) 4. สารชีวโมเลกุลที่เป็นรงควัตถุ ได้แก่ คาโรตินอยด์ (carotenoid), เมลานิน (melanin) และ ไซโตโครม (cytochromes) ประเภทสารชีวโมเลกุลตามลักษณะโมเลกุลเชิงซ้อน 1. คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrates) 2. โปรตีน (Protein) 3. ไขมัน น้ำมัน หรือไลปิด (Lipid) 4. กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid) คาร์โบไฮเดรต  (Carbohydrates) คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrates) หรือ แซคคาไรด์ (saccharide) เป็นสารที่พบในพืช และสัตว์เกือบทุกชนิด โดย...